ชาวรังสิตและศูนย์การค้าตลาดรังสิตร่วมทำบุญตักบาตรคณะสงฆ์ ๙ วัด ๑๒๙ รูป ถวายเป็นพระราชกุศล
ชาวรังสิตและศูนย์การค้าตลาดรังสิต ร่วมทำบุญตักบาตรคณะสงฆ์ ๙ วัด ๑๒๙ รูป ถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๙
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ผู้สะอาดด้วยความดี
ความเป็นผู้สะอาดด้วยความดีในจิตใจนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ว่า “คนดีย่อมไปหาคนดี คบกับคนดี” ครั้ง เมื่อพระบรมศาสดาประทับอยู่ที่พระเชตวัน ได้ปรารภถึงท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี นับตั้งแต่ท่านดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล เป็นพระอริยบุคคล ท่านมีศีล ๕ เป็นปกติ ไม่เคยขาดแม้แต่วันเดียว แม้ภรรยา บุตรธิดา บ่าวรับใช้ทั้งหมดของท่าน ต่างพากันรักษาศีล ๕ ไม่ขาดเช่นเดียวกัน
เทศกาลเข้าพรรษา
เป็นช่วงเวลา 3 เดือน ที่พระภิกษุสงฆ์จะพักอยู่ประจำ ณ ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น เรียกว่า "จำพรรษา" ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ประพฤติพรหมจรรย์
เพียงตัดสินใจออกบวชเพื่อประพฤติพรหมจรรย์แค่ไม่กี่ปี ยังเป็นเหตุให้ท่านได้ทิพยสมบัติมากมาย และได้ครอบครองยาวนานถึงเพียงนี้ การประพฤติพรหมจรรย์ คือ การประพฤติอันประเสริฐ ไม่ใช่ต้องออกบวชเพียงอย่างเดียวเท่านั้น พรหมจรรย์มีอยู่หลายระดับด้วยกัน แล้วแต่ใครจะสะดวกประพฤติพรหมจรรย์ในระดับไหน ตั้งแต่พรหมจรรย์ขั้นต้นสำหรับผู้ครองเรือน ก็ให้พอใจเฉพาะคู่ครองของตนเท่านั้น ไม่ให้นอกใจภรรยาหรือสามี มีศีล๕ เป็นปกติ
"เข้าพรรษา" ช่วงเวลาของการเพิ่มพูนความดี
เทศกาลเข้าพรรษาเวียนมาอีกครั้งหนึ่ง ในปีนี้เป็นปีอธิกมาส คือ เป็นปีที่มีเดือน ๘สองหน วันสำคัญในทางศาสนาของปีนี้จึงเลื่อนไป ๑ เดือน ตามข้อกำหนดของการนับวันของประเทศไทย ทำให้วันมาฆบูชาเลื่อนไปตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ และวันวิสาขบูชาตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุญหาช่องคอยส่งผล
็เพื่อทำให้ทุกท่านได้เชื่อมั่นและมีกำลังใจในเรื่องการสร้างบารมี เพื่อให้มั่นใจว่า สิ่งที่ดีงามเหล่านี้ บัณฑิตนักปราชญ์ในกาลก่อนล้วนทำมาแล้ว และได้รับผลของการกระทำนั้นอย่างเกินควรเกินคาด ดังนั้นเราทุกคนควรดำเนินตามรอยท่านผู้มีบุญในกาลก่อน ดังเช่นพระเถระรูปนี้
เนมิราชชาดก บำเพ็ญอธิษฐานบารมี (๕)
รสแห่งธรรมเลิศกว่ารสทั้งปวง ความสุขที่เกิดจากการเข้าถึงธรรมอันบริสุทธิ์ภายใน ประเสริฐกว่าความสุขอื่น...
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - กัลยาณวาทะ
นิครนถ์นาฏบุตร เจ้าลัทธิเดียรถีย์ที่ไม่ชอบใจในพระบรมศาสดา เพราะศรัทธามหาชนของตนเองห่างเหินไป จึงแต่งปัญหาข้อหนึ่งเป็นโอวัฏฏิกสาระ คือปัญหาวนเวียน ไม่มีใครสามารถแก้ได้ ปัญหานี้นิครนถ์ใช้เวลา ๔ เดือน จึงคิดออก และยุให้อภัยราชกุมารเรียนปัญหานั้นจนแตกฉาน เพื่อจะได้ส่งไปโต้วาทะกับพระผู้มีพระภาคเจ้า
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๕)
มนุษย์ที่เกิดมา ล้วนมีวัตถุประสงค์เพื่อมาสร้างบารมี มาปฏิบัติธรรม เพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุญคือฉากหลังของทุกชีวิต
เรื่องราวของพระอุบาลีเถระ เป็นพระเถระผู้มีชื่อเสียงมากในสมัยพุทธกาล ตัวของท่านได้รับแต่งตั้งจากพระบรมศาสดาให้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย มาติดตามกันเลยว่าท่านได้กระทำเหตุไว้อย่างไรจึงได้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย